คำแนะนำหนึ่งในแง่การดูแลสุขภาพที่แพทย์มักให้คำปรึกษากันคือ ‘ให้ไปออกกำลังกาย’ ซึ่งแม้จะเป็นประโยคที่พูดได้ง่าย แต่ปฏิบัติจริงกลับไม่ใช่เรื่องง่ายเลย โดยเฉพาะในผู้สูงอายุที่มีข้อจำกัดจำเพาะต่างๆแตกต่างจากคนทั่วไป หมอจะพาไปดูกันว่าจริงๆแล้วในทางการแพทย์ การออกกำลังกายแบบใดที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุมากที่สุด
ไข้หวัดทั่วไป เป็นการติดเชื้อไวรัส ทำให้เกิดอาการน้ำมูกไหล มีไข้ต่ำ ส่วนไข้หวัดใหญ่เป็นการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
วันเสาร์ที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 09.00 - 15.00น. ณ โรงเรียนพรการุญบริบาล ได้มีการจัดอบรมเปิดสอนปฏิบัติการกู้ชีพ CPR โดย อ.สุรศักดิ์ สุดเสน่ห์ (หัวหน้าหน่วยกู้ชีพ ประจำโรงพยาบาลเทศบาลนครอุดรธานี) สามารถเข้าร่วมได้ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งบุคคลธรรมดาและนักเรียนพรการุญที่สนใจเข้าร่วม ซึ่งกิจกรรมดังกล่าว ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมใดๆทั้งสิ้น
ตารางการปฐมนิเทศนักศึกษารุ่นที่ 13 ในวันอาทิตย์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.2566 ณ ห้องเรียน1 โรงเรียนพรการุญบริบาล จ.อุดรธานี ตั้งแต่เวลา 10.00-13.00น.
โรงเรียนพรการุญบริบาล ได้ออกงานจัดบูธแสดงนิทรรศการ PORNGAROON GO TO JAPAN⛩🇯🇵🗻✈️ "แนะแนวการเรียนเพื่อเตรียมพร้อมไปทำงานที่ญี่ปุ่น" (งานทักษะบริบาล) ณ หอประชุม อาคารกิจกรรมนักศึกษา ม.ราชภัฏอุดรธานีวันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 13.00น. เป็นต้นไป (ลงทะเบียนเข้างาน 12.00น.)
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.00 - 16.00น. ทางโรงเรียนพรการุญบริบาล ได้มีการจัดอบรมเปิดสอนปฏิบัติการกู้ชีพ CPR โดย อ.สุรศักดิ์ สุดเสน่ห์ (หัวหน้าหน่วยกู้ชีพ ประจำโรงพยาบาลเทศบาลนครอุดรธานี)
ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2565 นายไพบูลย์ พลเมืองศรี อาจารย์แนะแนวโรงเรียนพรการุญบริบาล ได้ทำการลงพื้นที่ 3 อำเภอ ในเขตจังหวัดอุดรธานี ได้แก่ อ.เมืองอุดรธานี อ.ประจักษ์ศิลปาคมและอ.กู่แก้ว
ในวันที่ 18 ตุลาคม 2565 นายไพบูลย์ พลเมืองศรี อาจารย์แนะแนวโรงเรียนพรการุญบริบาล ได้ทำการลงพื้นที่เพื่อขยายฐานการตลาดที่ชุมชนหมู่บ้าน ภายในอำเภอเพ็ญ โดยมีจุดประสงค์พบผู้นำหมู่บ้านเป็นหลัก
จุดเริ่มต้นเล็ก ๆ ที่มีฝันใหญ่ ตอนเรียนที่พรการุญฯ ต๊อบก็เหมือนกับหลาย ๆ คนที่แค่รู้สึกว่าอยากมีอาชีพมั่นคง และช่วยเหลือคนอื่นได้ด้วย จนวันหนึ่งได้ยินรุ่นพี่ที่ไปทำงานที่ญี่ปุ่นมาแชร์ประสบการณ์ เลยเริ่มสนใจ และตั้งเป้าไว้เลยว่า "สักวันต้องได้ไปแบบนั้นบ้าง" จากวันนั้น ต๊อบเริ่มเรียนภาษาญี่ปุ่น ค่อย ๆ ฝึกฝน ฝึกความอดทน และพัฒนาทักษะการดูแลผู้ป่วย จนในที่สุดก็ได้โอกาสเดินทางไปทำงานที่ญี่ปุ่นจริง ๆ
การทำงานเป็น ผู้ช่วยพยาบาลไทยในโรงพยาบาลญี่ปุ่น เป็นประสบการณ์ที่ท้าทายแต่ก็คุ้มค่ามาก ข้าวฟ่างได้เรียนรู้ทั้งวิชาชีพและวิธีการใช้ชีวิตในสังคมที่เป็นระเบียบ มีมาตรฐานสูง และให้ความสำคัญกับการดูแลผู้คนอย่างแท้จริง สำหรับใครที่สนใจมาทำงานสายนี้ อยากบอกเลยว่า "โอกาสมีเสมอสำหรับคนที่พร้อมเรียนรู้และพัฒนาตัวเอง"
การได้ใช้ชีวิตและทำงานในญี่ปุ่นไม่เพียงแต่เปิดโอกาสให้ข้าวฟ่างได้พัฒนาทักษะในสายงานผู้ช่วยพยาบาล แต่ยังได้เรียนรู้และซึมซับวัฒนธรรมญี่ปุ่นในทุกๆ ด้านอย่างลึกซึ้ง ทั้งผ่านการทำงาน การใช้ชีวิตประจำวัน และการปฏิสัมพันธ์กับผู้คน วัฒนธรรมที่ละเอียดอ่อนและมีความลึกซึ้งนี้ได้สร้างบทเรียนและแรงบันดาลใจมากมายที่พี่ข้าวฟ่างอยากแบ่งปันค่ะ
การทำงานในญี่ปุ่นไม่เพียงแต่เปิดโอกาสให้วิวได้พัฒนาทักษะในสายอาชีพผู้ช่วยพยาบาล แต่ยังเป็นการสัมผัสกับวัฒนธรรมการทำงานที่ไม่เหมือนใคร วัฒนธรรมที่มีความใส่ใจในทุกรายละเอียด เน้นความร่วมมือ และแฝงไปด้วยความจริงจังและความเคารพ ซึ่งสร้างความประทับใจตั้งแต่วันแรกที่ได้เริ่มงานค่ะ
การได้ใช้ชีวิตในญี่ปุ่นไม่เพียงแต่เปิดโอกาสให้หน่อยได้ทำงานในสายอาชีพผู้ช่วยพยาบาล แต่ยังได้สัมผัสกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่น่าประทับใจมากมาย คนญี่ปุ่นมีเอกลักษณ์ที่แตกต่าง ทั้งในเรื่องของการใช้ชีวิตประจำวัน ความมีระเบียบ และการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างสุภาพและจริงใจ ซึ่งสิ่งเหล่านี้สร้างแรงบันดาลใจและสอนบทเรียนที่ล้ำค่าให้หน่อยในทุกๆ วันค่ะ